คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

33101  สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 1   กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ภาคเรียนที่ 1            เวลา  40  ชั่วโมง                    จำนวน  1.0  หน่วยกิต

 

วิเคราะห์สังคมชมพูทวีป และคติความเชื่อทางศาสนาสมัยก่อนพระพุทธเจ้าหรือสังคมสมัยของศาสดาที่ตนนับถือ วิเคราะห์พระพุทธเจ้าในฐานะเป็นมนุษย์ผู้ฝึกตนได้อย่างสูงสุดในการตรัสรู้ หรือวิเคราะห์ประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กำหนด

วิเคราะห์ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนาหรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด วิเคราะห์พระพุทธศาสนาว่าเป็นศาสตร์แห่งการศึกษา ซึ่งเน้นความสัมพันธ์ของเหตุปัจจัยกับวิธีการแก้ปัญหา      วิเคราะห์พระพุทธศาสนาในการฝึกตนไม่ให้ประมาท มุ่งประโยชน์และสันติภาพบุคคล สังคมและโลก วิเคราะห์พระพุทธศาสนากับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน

วิเคราะห์หลักธรรมในกรอบอริยสัจ 4 หรือหลักคำสอนของศาสนาที่ตนนับถือ อธิบายประวัติศาสดาของศาสนาอื่นๆ โดยสังเขป วิเคราะห์หลักธรรมสำคัญในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขของศาสนาอื่นๆ ชักชวน ส่งเสริมสนับสนุนให้บุคคลอื่นเห็นความสำคัญของการทำความดีต่อกัน วิเคราะห์หลักธรรม คติธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับวันสำคัญทางศาสนาและเทศกาลที่สำคัญของศาสนาที่ตนนับถือ และปฏิบัติตนได้ถูกต้อง

วิเคราะห์เหตุการณ์และปัญหาสำคัญของสังคมและสังคมโลก ที่มีผลกระทบต่อวิถีการดำเนินชีวิตของมนุษย์ในปัจจุบัน วิเคราะห์สาเหตุความเป็นมาของเหตุการณ์และปัญหาสำคัญที่เกิดในสังคมไทย สังคมในกลุ่มประเทศอาเซียน และสังคมโลก โดยเสนอแนะแนวทางป้องกันและแก้ไขได้

วิเคราะห์ถึงความสำคัญของวัฒนธรรมภูมิปัญญาไทย โดยการอนุรักษ์และสืบทอดวัฒนธรรมไทย เลือกรับวัฒนธรรมสมัยใหม่หรือวัฒนธรรมสากลได้อย่างเหมาะสมกับสังคมไทย

เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจในพระพุทธศาสนาและศาสนาที่ตนนับถือ สามารถนำหลักธรรมคำสั่งสอนมาประยุกต์ใช้ให้เกิดความเจริญ และความสงบสุขในสังคม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้

          เพื่อให้เข้าใจในเหตุการณ์ของสังคม ที่มีผลกระทบต่อมนุษย์ ปัญหาที่เกิดในสังคมไทยและสังคมโลก การอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทยและเลือกรับวัฒนธรรมสากลได้ เข้าใจปัญหาเศรษฐกิจของประเทศและต่างประเทศ การผลิตการบริโภค การใช้เทคโนโลยีทางการผลิต สามารถนำความรู้เหตุการณ์ทางสังคม และเศรษฐกิจมาประยุกต์ในการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้

 

รหัสตัวชี้วัด

ส 1.1 ม4-6/1,ม4-6/2,ม4-6/6,ม4-6/9,ม4-6/10,ม4-6/11,ม4-6/13,ม4-6/17,ม4-6/21

          ส 1.2 ม4-6/4

ส 2.1  ม4-6/2,ม4-6/2, ม4-6/3, ม4-6/4

รวมทั้งหมด    14  ตัวชี้วัด

 

 

 

 

 

 

โครงสร้างรายวิชา

33101  สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 1   กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6           ภาคเรียนที่ 1              เวลาเรียน 40 ชั่วโมง           จำนวน 1 หน่วยกิต

ที่

ชื่อหน่วยการเรียนรู้

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้

เวลาเรียน (ชั่วโมง)

น้ำหนัก

คะแนน

1

พระพุทธศาสนา

ม.4-6/1 วิเคราะห์สังคมชมพูทวีป และคติความเชื่อทางศาสนาสมัยก่อนพระพุทธเจ้าหรือสังคมสมัยของศาสดาที่ตนนับถือ

- สังคมสมัยก่อนพุทธกาล

1

2

2

ม.4-6/2 วิเคราะห์พระพุทธเจ้าในฐานะเป็นมนุษย์ผู้ฝึกตนได้อย่างสูงสุดในการตรัสรู้ หรือวิเคราะห์ประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กำหนด

- พระพุทธเจ้าในฐานที่ผู้ฝึกตนได้ (การตรัสรู้)

1

1

3

- หลักการเผยแพร่พระพุทธศาสนา

1

1

4

หลักการทางพระพุทธศาสนา

ม.4-6/6 วิเคราะห์ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนาหรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด

- ความเป็นประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา

1

2

5

ม.4-6/9 วิเคราะห์พระพุทธศาสนาว่าเป็นศาสตร์แห่งการศึกษา ซึ่งเน้นความสัมพันธ์ของเหตุปัจจัยกับวิธีการแก้ปัญหา หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด

- การแก้ไขปัญหาตามหลักพระพุทธศาสนา

1

2

6

หลักพระพุทธศาสนากับการพัฒนาโลก

ม.4-6/10 วิเคราะห์พระพุทธศาสนาในการฝึกตนไม่ให้ประมาท มุ่งประโยชน์และสันติภาพบุคคล สังคมและโลก หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด

- การฝึกตนตามแนวทางพระพุทธศาสนา

2

2

7

- พระพุทธศาสนากับการสร้างสรรค์โลก

1

2

8

ม.4-6/11 วิเคราะห์พระพุทธศาสนากับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด

- หลักพระพุทธศาสนากับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

1

2

9

หลักธรรมและ

วันสำคัญ

ม.4-6/13 วิเคราะห์หลักธรรมในกรอบอริยสัจ 4 หรือหลักคำสอนของศาสนาที่ตนนับถือ

- หลักธรรมอริยสัจ 4

 1. หลักธรรมที่ควรรู้ (ทุกข์)

 2. หลักธรรมที่ควรละ (สมุทัย)

 3. หลักธรรมที่ควรบรรลุ(นิโรธ)

 4. หลักธรรมที่ควรเจริญ(มรรค)

4

4

10

ม.4-6/17 อธิบายประวัติศาสดาของศาสนาอื่นๆ โดยสังเขป

- ประวัติศาสดา ของศาสนาคริสต์ อิสลาม และศาสนาอื่นๆ

2

2

11

ม.4-6/21 วิเคราะห์หลักธรรมสำคัญในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขของศาสนาอื่นๆ ชักชวน ส่งเสริมสนับสนุนให้บุคคลอื่นเห็นความสำคัญของการทำความดีต่อกัน

- หลักธรรมที่นำไปสู่สันติภาพและความสงบสุข

2

2

12

ม.4-6/4 วิเคราะห์หลักธรรม คติธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับวันสำคัญทางศาสนาและเทศกาลที่สำคัญของศาสนาที่ตนนับถือ และปฏิบัติตนได้ถูกต้อง

- วันสำคัญทางศาสนาพุทธ

   1. วันมาฆบูชา

   2. วันวิสาขบูชา

   3. วันอาสาฬหบูชา

2

2

13

ทดสอบกลางภาคเรียน

1

20

14

การเมืองการปกครอง

ม.4-6/1 วิเคราะห์ปัญหาการเมืองที่สำคัญในประเทศ จากแหล่ง ข้อมูลต่างๆ พร้อมทั้งเสนอแนวทางแก้ไข

- พัฒนาการเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง

1

1

15

- การปกครองรูปแบบต่างๆ : เผด็จการ

1

1

16

- การปกครองรูปแบบต่างๆ : ประชาธิปไตย

1

1

17

- ปัญหาพื้นฐานทางการเมืองการปกครองไทย

1

1

18

ม.4-6/2 เสนอแนวทางทางการเมืองการปกครองที่นำไปสู่ความเข้าใจ  และการประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ

- บทบาทของประชาชนกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตย

3

4

19

- ความร่วมมือด้านการเมืองการปกครองระหว่างประเทศ

3

4

20

การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข

ม.4-6/3 วิเคราะห์ความสำคัญและ ความจำเป็นที่ต้องธำรงรักษาไว้ซึ่งการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย  อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

- ความสำคัญของการปกครองระบอบประชาธิปไตย

1

2

21

- การธำรงรักษาการปกครองระบอบประชาธิปไตย

1

2

22

- รัฐธรรมนูญไทย

2

2

23

- บทบาทของพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ

2

2

24

ม.4-6/4 เสนอแนวทางและมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ

- การตรวจสอบการใช้อำนาจของรัฐบาลในรูปแบบต่างๆ

4

6

25

ทดสอบปลายภาคเรียน

1

30

รวมตลอดภาคเรียน

40

100

 

หมายเหตุ อาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ตารางวิเคราะห์ตัวชี้วัด

รายวิชา  สังคมศึกษาพื้นฐาน  รหัสวิชา  33101 

 

 

 

ที่

 

ตัวชี้วัด

น้ำหนักคะแนน

มาตรฐานช่วงชั้นที่เรียน

วัดผลระหว่างภาค

วัดผลกลางภาค

วัดผลปลายภาค

ด้าน

ความรู้

(K)

ด้าน

กระบวนการ (P)

ด้าน

เจตคติ

(A)

คะแนนทดสอบย่อย

1

ม.4-6/1 วิเคราะห์สังคมชมพูทวีป และคติความเชื่อทางศาสนาสมัยก่อนพระพุทธเจ้าหรือสังคมสมัยของศาสดาที่ตนนับถือ

0.5

1

0.5

2

3

2

1.1

2

ม.4-6/2 วิเคราะห์พระพุทธเจ้าในฐานะเป็นมนุษย์ผู้ฝึกตนได้อย่างสูงสุดในการตรัสรู้ หรือวิเคราะห์ประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กำหนด

0.5

1

0.5

2

3

2

1.1

3

ม.4-6/6 วิเคราะห์ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนาหรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด

0.5

1

0.5

2

3

2

1.1

4

ม.4-6/9 วิเคราะห์พระพุทธศาสนาว่าเป็นศาสตร์แห่งการศึกษา ซึ่งเน้นความสัมพันธ์ของเหตุปัจจัยกับวิธีการแก้ปัญหา หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด

0.5

1

0.5

2

3

2

1.1

5

ม.4-6/10 วิเคราะห์พระพุทธศาสนาในการฝึกตนไม่ให้ประมาท มุ่งประโยชน์และสันติภาพบุคคล สังคมและโลก หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด

1

2

1

4

5

2

1.1

6

ม.4-6/11 วิเคราะห์พระพุทธศาสนากับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด

0.5

1

0.5

2

3

2

1.1

7

ม.4-6/13 วิเคราะห์หลักธรรมในกรอบอริยสัจ 4 หรือหลักคำสอนของศาสนาที่ตนนับถือ

1

2

1

4

-

2

1.1

8

ม.4-6/17 อธิบายประวัติศาสดาของศาสนาอื่นๆ โดยสังเขป

0.5

1

0.5

2

-

2

1.1

9

ม.4-6/21 วิเคราะห์หลักธรรมสำคัญในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขของศาสนาอื่นๆ ชักชวน ส่งเสริมสนับสนุนให้บุคคลอื่นเห็นความสำคัญของการทำความดีต่อกัน

0.5

1

0.5

2

-

2

1.1

10

ม.4-6/4 วิเคราะห์หลักธรรม คติธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับวันสำคัญทางศาสนาและเทศกาลที่สำคัญของศาสนาที่ตนนับถือ และปฏิบัติตนได้ถูกต้อง

0.5

1

0.5

2

-

2

1.2

11

ม.4-6/1 วิเคราะห์ปัญหาการเมืองที่สำคัญในประเทศ จากแหล่ง ข้อมูลต่างๆ พร้อมทั้งเสนอแนวทางแก้ไข

1

2

1

4

-

2

2.2

12

ม.4-6/2 เสนอแนวทางทางการเมืองการปกครองที่นำไปสู่ความเข้าใจ  และการประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ

2

4

2

8

-

3

2.2

13

ม.4-6/3 วิเคราะห์ความสำคัญและ ความจำเป็นที่ต้องธำรงรักษาไว้ซึ่งการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย  อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

2

4

2

8

-

3

2.2

14

ม.4-6/4 เสนอแนวทางและมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ

2

2

2

6

-

2

2.2

รวมคะแนน

13

24

13

50

20

30

100

หมายเหตุ อาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม