คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

22101  สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม  3   กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ภาคเรียนที่ 1           เวลา  60  ชั่วโมง                       จำนวน  1.5  หน่วยกิต

ศึกษาและวิเคราะห์ประวัติความสำคัญของพระพุทธศาสนา การเผยแผ่พระพุทธศาสนาสู่ประเทศเพื่อนบ้านในกลุ่มประเทศอาเซียน พุทธประวัติ ชาดก พุทธสาวก พุทธสาวิกา ชาวพุทธตัวอย่าง ศึกษาและวิเคราะห์ พุทธศาสนสุภาษิต พระไตรปิฎก คำศัพท์น่ารู้ทางพระพุธศาสนา พระสงฆ์ การปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อพระสงฆ์ หน้าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ วันสำคัญทางพุทธศาสนา ศาสนพิธี หลักธรรม การฝึกทักษะการบริหารจิตและเจริญปัญญา

ศึกษาวิเคราะห์ ฝึกปฏิบัติ สร้างความคิดรวบยอด เพื่อให้มีความเข้าใจ ตระหนัก และเห็นคุณค่าในเรื่อง  กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน และประเทศ การปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท  สิทธิเสรีภาพ ในสถานพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย บทบาท ความสำคัญและความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคม ความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมในภูมิภาคอาเซียนเพื่อนำไปสู่ความเข้าใจอันดีระหว่างกัน กระบวนการในการตรากฎหมาย ข้อมูลข่าวสารทางการเมือง การปกครอง ที่มีผลกระทบต่อสังคมไทยสมัยปัจจุบัน

โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการสร้างค่านิยม การสืบค้นข้อมูล การอภิปรายเพื่อเกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิตได้ มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงาม มีจิตสาธารณะ และดำเนินชีวิตในสังคมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างสันติสุข

 

รหัสตัวชี้วัด

          1.1   .2/1   .2/2   .2/3   .2/4  .2/5 .2/6  .2/7  .2/8 .2/9 .2/10 .2/11

          1.2   .2/1 .2/2 .2/3 .2/4 .2/5

          2.1   .2/1 .2/2 .2/3 .2/4

          2.2   .2/1 .2/2 

 

รวมทั้งหมด 22 ตัวชี้วัด

 

 

 

 

 

 

 


คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

32101  ภูมิศาสตร์                                    กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ภาคเรียนที่ 1             เวลา  40  ชั่วโมง                   จำนวน  1.0  หน่วยกิต

 

วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของพื้นที่ในประเทศไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก ซึ่งได้รับอิทธิพลจากปัจจัยทางภูมิศาสตร์ ลักษณะทางกายภาพซึ่งทำให้เกิดปัญหาหรือภัยพิบัติทางธรรมชาติในประเทศไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ในการค้นหา และสรุปข้อมูล ตามกระบวนการทางภูมิศาสตร์ และนำภูมิสารสนเทศมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน ตลอดจนการประเมินการเปลี่ยนแปลงธรรมชาติในโลกว่าเป็นผลมาจากการกระทำของมนุษย์หรือธรรมชาติ

วิเคราะห์ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมทางกายภาพกับกิจกรรมของมนุษย์ ในการสร้างสรรค์

วิถีการดำเนินชีวิตของท้องถิ่น ทั้งในประเทศไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลกและเห็นความสำคัญของ

สิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ วิเคราะห์สถานการณ์ สาเหตุ และผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก สร้างแนวทางและมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

          เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ของจังหวัดสุรินทร์ ประเทศไทยและโลก  ตระหนักและเห็นคุณค่าทรัพยากรธรรมชาติ  สามารถนำความรู้ทางภูมิศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้

 

รหัสตัวชี้วัด

ส5.1 ม4-5/1-3

ส5.2 ม4-6/1-4

รวมทั้งหมด    7   ตัวชี้วัด



 


คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

22101  สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม  3   กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ภาคเรียนที่ 1           เวลา  60  ชั่วโมง                     จำนวน  1.5  หน่วยกิต

ศึกษาและวิเคราะห์ประวัติความสำคัญของพระพุทธศาสนา การเผยแผ่พระพุทธศาสนาสู่ประเทศเพื่อนบ้านในกลุ่มประเทศอาเซียน พุทธประวัติ ชาดก พุทธสาวก พุทธสาวิกา ชาวพุทธตัวอย่าง ศึกษาและวิเคราะห์ พุทธศาสนสุภาษิต พระไตรปิฎก คำศัพท์น่ารู้ทางพระพุธศาสนา พระสงฆ์ การปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อพระสงฆ์ หน้าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ วันสำคัญทางพุทธศาสนา ศาสนพิธี หลักธรรม การฝึกทักษะการบริหารจิตและเจริญปัญญา

ศึกษาวิเคราะห์ ฝึกปฏิบัติ สร้างความคิดรวบยอด เพื่อให้มีความเข้าใจ ตระหนัก และเห็นคุณค่าในเรื่อง  กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน และประเทศ การปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท  สิทธิเสรีภาพ ในสถานพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย บทบาท ความสำคัญและความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคม ความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมในภูมิภาคอาเซียนเพื่อนำไปสู่ความเข้าใจอันดีระหว่างกัน กระบวนการในการตรากฎหมาย ข้อมูลข่าวสารทางการเมือง การปกครอง ที่มีผลกระทบต่อสังคมไทยสมัยปัจจุบัน

โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการสร้างค่านิยม การสืบค้นข้อมูล การอภิปรายเพื่อเกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิตได้ มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงาม มีจิตสาธารณะ และดำเนินชีวิตในสังคมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างสันติสุข

 

รหัสตัวชี้วัด

            1.1        .2/1   .2/2   .2/3   .2/4  .2/5 .2/6  .2/7  .2/8 .2/9 .2/10 .2/11

                1.2        .2/1 .2/2 .2/3 .2/4 .2/5

                2.1        .2/1 .2/2 .2/3 .2/4

                2.2        .2/1 .2/2 

รวมทั้งหมด 22 ตัวชี้วัด

 


         ศึกษา วิเคราะห์ ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของ มนุษยชาติ ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ คุณค่าและประโยชน์ของวิธีการทางประวัติศาสตร์ที่มีต่อการศึกษา ประวัติศาสตร์สากล การศึกษาอารยธรรมของโลกยุคโบราณ อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมอียิปต์ อารยธรรมกรีก อารยธรรมโรมัน อารยธรรมลุ่มแม่น้ำเหลืองหรือแม่น้ำฮวงเหอ อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ การติดต่อระหว่างโลกตะวันออก กับโลกตะวันตกที่มีผลต่อพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของโลก โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักในความสำคัญของการศึกษาประวัติศาสตร์สากล มีคุณลักษณะที่ พึงประสงค์ในด้านใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย มีความรับผิดชอบ

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

33101  สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 1   กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ภาคเรียนที่ 1            เวลา  40  ชั่วโมง                    จำนวน  1.0  หน่วยกิต

 

วิเคราะห์สังคมชมพูทวีป และคติความเชื่อทางศาสนาสมัยก่อนพระพุทธเจ้าหรือสังคมสมัยของศาสดาที่ตนนับถือ วิเคราะห์พระพุทธเจ้าในฐานะเป็นมนุษย์ผู้ฝึกตนได้อย่างสูงสุดในการตรัสรู้ หรือวิเคราะห์ประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กำหนด

วิเคราะห์ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนาหรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด วิเคราะห์พระพุทธศาสนาว่าเป็นศาสตร์แห่งการศึกษา ซึ่งเน้นความสัมพันธ์ของเหตุปัจจัยกับวิธีการแก้ปัญหา      วิเคราะห์พระพุทธศาสนาในการฝึกตนไม่ให้ประมาท มุ่งประโยชน์และสันติภาพบุคคล สังคมและโลก วิเคราะห์พระพุทธศาสนากับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน

วิเคราะห์หลักธรรมในกรอบอริยสัจ 4 หรือหลักคำสอนของศาสนาที่ตนนับถือ อธิบายประวัติศาสดาของศาสนาอื่นๆ โดยสังเขป วิเคราะห์หลักธรรมสำคัญในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขของศาสนาอื่นๆ ชักชวน ส่งเสริมสนับสนุนให้บุคคลอื่นเห็นความสำคัญของการทำความดีต่อกัน วิเคราะห์หลักธรรม คติธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับวันสำคัญทางศาสนาและเทศกาลที่สำคัญของศาสนาที่ตนนับถือ และปฏิบัติตนได้ถูกต้อง

วิเคราะห์เหตุการณ์และปัญหาสำคัญของสังคมและสังคมโลก ที่มีผลกระทบต่อวิถีการดำเนินชีวิตของมนุษย์ในปัจจุบัน วิเคราะห์สาเหตุความเป็นมาของเหตุการณ์และปัญหาสำคัญที่เกิดในสังคมไทย สังคมในกลุ่มประเทศอาเซียน และสังคมโลก โดยเสนอแนะแนวทางป้องกันและแก้ไขได้

วิเคราะห์ถึงความสำคัญของวัฒนธรรมภูมิปัญญาไทย โดยการอนุรักษ์และสืบทอดวัฒนธรรมไทย เลือกรับวัฒนธรรมสมัยใหม่หรือวัฒนธรรมสากลได้อย่างเหมาะสมกับสังคมไทย

เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจในพระพุทธศาสนาและศาสนาที่ตนนับถือ สามารถนำหลักธรรมคำสั่งสอนมาประยุกต์ใช้ให้เกิดความเจริญ และความสงบสุขในสังคม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้

          เพื่อให้เข้าใจในเหตุการณ์ของสังคม ที่มีผลกระทบต่อมนุษย์ ปัญหาที่เกิดในสังคมไทยและสังคมโลก การอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทยและเลือกรับวัฒนธรรมสากลได้ เข้าใจปัญหาเศรษฐกิจของประเทศและต่างประเทศ การผลิตการบริโภค การใช้เทคโนโลยีทางการผลิต สามารถนำความรู้เหตุการณ์ทางสังคม และเศรษฐกิจมาประยุกต์ในการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้

 

รหัสตัวชี้วัด

ส 1.1 ม4-6/1,ม4-6/2,ม4-6/6,ม4-6/9,ม4-6/10,ม4-6/11,ม4-6/13,ม4-6/17,ม4-6/21

          ส 1.2 ม4-6/4

ส 2.1  ม4-6/2,ม4-6/2, ม4-6/3, ม4-6/4

รวมทั้งหมด    14  ตัวชี้วัด

 

 

 

 

 

 

โครงสร้างรายวิชา

33101  สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 1   กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6           ภาคเรียนที่ 1              เวลาเรียน 40 ชั่วโมง           จำนวน 1 หน่วยกิต

ที่

ชื่อหน่วยการเรียนรู้

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้

เวลาเรียน (ชั่วโมง)

น้ำหนัก

คะแนน

1

พระพุทธศาสนา

ม.4-6/1 วิเคราะห์สังคมชมพูทวีป และคติความเชื่อทางศาสนาสมัยก่อนพระพุทธเจ้าหรือสังคมสมัยของศาสดาที่ตนนับถือ

- สังคมสมัยก่อนพุทธกาล

1

2

2

ม.4-6/2 วิเคราะห์พระพุทธเจ้าในฐานะเป็นมนุษย์ผู้ฝึกตนได้อย่างสูงสุดในการตรัสรู้ หรือวิเคราะห์ประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กำหนด

- พระพุทธเจ้าในฐานที่ผู้ฝึกตนได้ (การตรัสรู้)

1

1

3

- หลักการเผยแพร่พระพุทธศาสนา

1

1

4

หลักการทางพระพุทธศาสนา

ม.4-6/6 วิเคราะห์ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนาหรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด

- ความเป็นประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา

1

2

5

ม.4-6/9 วิเคราะห์พระพุทธศาสนาว่าเป็นศาสตร์แห่งการศึกษา ซึ่งเน้นความสัมพันธ์ของเหตุปัจจัยกับวิธีการแก้ปัญหา หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด

- การแก้ไขปัญหาตามหลักพระพุทธศาสนา

1

2

6

หลักพระพุทธศาสนากับการพัฒนาโลก

ม.4-6/10 วิเคราะห์พระพุทธศาสนาในการฝึกตนไม่ให้ประมาท มุ่งประโยชน์และสันติภาพบุคคล สังคมและโลก หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด

- การฝึกตนตามแนวทางพระพุทธศาสนา

2

2

7

- พระพุทธศาสนากับการสร้างสรรค์โลก

1

2

8

ม.4-6/11 วิเคราะห์พระพุทธศาสนากับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด

- หลักพระพุทธศาสนากับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

1

2

9

หลักธรรมและ

วันสำคัญ

ม.4-6/13 วิเคราะห์หลักธรรมในกรอบอริยสัจ 4 หรือหลักคำสอนของศาสนาที่ตนนับถือ

- หลักธรรมอริยสัจ 4

 1. หลักธรรมที่ควรรู้ (ทุกข์)

 2. หลักธรรมที่ควรละ (สมุทัย)

 3. หลักธรรมที่ควรบรรลุ(นิโรธ)

 4. หลักธรรมที่ควรเจริญ(มรรค)

4

4

10

ม.4-6/17 อธิบายประวัติศาสดาของศาสนาอื่นๆ โดยสังเขป

- ประวัติศาสดา ของศาสนาคริสต์ อิสลาม และศาสนาอื่นๆ

2

2

11

ม.4-6/21 วิเคราะห์หลักธรรมสำคัญในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขของศาสนาอื่นๆ ชักชวน ส่งเสริมสนับสนุนให้บุคคลอื่นเห็นความสำคัญของการทำความดีต่อกัน

- หลักธรรมที่นำไปสู่สันติภาพและความสงบสุข

2

2

12

ม.4-6/4 วิเคราะห์หลักธรรม คติธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับวันสำคัญทางศาสนาและเทศกาลที่สำคัญของศาสนาที่ตนนับถือ และปฏิบัติตนได้ถูกต้อง

- วันสำคัญทางศาสนาพุทธ

   1. วันมาฆบูชา

   2. วันวิสาขบูชา

   3. วันอาสาฬหบูชา

2

2

13

ทดสอบกลางภาคเรียน

1

20

14

การเมืองการปกครอง

ม.4-6/1 วิเคราะห์ปัญหาการเมืองที่สำคัญในประเทศ จากแหล่ง ข้อมูลต่างๆ พร้อมทั้งเสนอแนวทางแก้ไข

- พัฒนาการเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง

1

1

15

- การปกครองรูปแบบต่างๆ : เผด็จการ

1

1

16

- การปกครองรูปแบบต่างๆ : ประชาธิปไตย

1

1

17

- ปัญหาพื้นฐานทางการเมืองการปกครองไทย

1

1

18

ม.4-6/2 เสนอแนวทางทางการเมืองการปกครองที่นำไปสู่ความเข้าใจ  และการประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ

- บทบาทของประชาชนกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตย

3

4

19

- ความร่วมมือด้านการเมืองการปกครองระหว่างประเทศ

3

4

20

การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข

ม.4-6/3 วิเคราะห์ความสำคัญและ ความจำเป็นที่ต้องธำรงรักษาไว้ซึ่งการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย  อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

- ความสำคัญของการปกครองระบอบประชาธิปไตย

1

2

21

- การธำรงรักษาการปกครองระบอบประชาธิปไตย

1

2

22

- รัฐธรรมนูญไทย

2

2

23

- บทบาทของพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ

2

2

24

ม.4-6/4 เสนอแนวทางและมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ

- การตรวจสอบการใช้อำนาจของรัฐบาลในรูปแบบต่างๆ

4

6

25

ทดสอบปลายภาคเรียน

1

30

รวมตลอดภาคเรียน

40

100

 

หมายเหตุ อาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ตารางวิเคราะห์ตัวชี้วัด

รายวิชา  สังคมศึกษาพื้นฐาน  รหัสวิชา  33101 

 

 

 

ที่

 

ตัวชี้วัด

น้ำหนักคะแนน

มาตรฐานช่วงชั้นที่เรียน

วัดผลระหว่างภาค

วัดผลกลางภาค

วัดผลปลายภาค

ด้าน

ความรู้

(K)

ด้าน

กระบวนการ (P)

ด้าน

เจตคติ

(A)

คะแนนทดสอบย่อย

1

ม.4-6/1 วิเคราะห์สังคมชมพูทวีป และคติความเชื่อทางศาสนาสมัยก่อนพระพุทธเจ้าหรือสังคมสมัยของศาสดาที่ตนนับถือ

0.5

1

0.5

2

3

2

1.1

2

ม.4-6/2 วิเคราะห์พระพุทธเจ้าในฐานะเป็นมนุษย์ผู้ฝึกตนได้อย่างสูงสุดในการตรัสรู้ หรือวิเคราะห์ประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กำหนด

0.5

1

0.5

2

3

2

1.1

3

ม.4-6/6 วิเคราะห์ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนาหรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด

0.5

1

0.5

2

3

2

1.1

4

ม.4-6/9 วิเคราะห์พระพุทธศาสนาว่าเป็นศาสตร์แห่งการศึกษา ซึ่งเน้นความสัมพันธ์ของเหตุปัจจัยกับวิธีการแก้ปัญหา หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด

0.5

1

0.5

2

3

2

1.1

5

ม.4-6/10 วิเคราะห์พระพุทธศาสนาในการฝึกตนไม่ให้ประมาท มุ่งประโยชน์และสันติภาพบุคคล สังคมและโลก หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด

1

2

1

4

5

2

1.1

6

ม.4-6/11 วิเคราะห์พระพุทธศาสนากับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด

0.5

1

0.5

2

3

2

1.1

7

ม.4-6/13 วิเคราะห์หลักธรรมในกรอบอริยสัจ 4 หรือหลักคำสอนของศาสนาที่ตนนับถือ

1

2

1

4

-

2

1.1

8

ม.4-6/17 อธิบายประวัติศาสดาของศาสนาอื่นๆ โดยสังเขป

0.5

1

0.5

2

-

2

1.1

9

ม.4-6/21 วิเคราะห์หลักธรรมสำคัญในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขของศาสนาอื่นๆ ชักชวน ส่งเสริมสนับสนุนให้บุคคลอื่นเห็นความสำคัญของการทำความดีต่อกัน

0.5

1

0.5

2

-

2

1.1

10

ม.4-6/4 วิเคราะห์หลักธรรม คติธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับวันสำคัญทางศาสนาและเทศกาลที่สำคัญของศาสนาที่ตนนับถือ และปฏิบัติตนได้ถูกต้อง

0.5

1

0.5

2

-

2

1.2

11

ม.4-6/1 วิเคราะห์ปัญหาการเมืองที่สำคัญในประเทศ จากแหล่ง ข้อมูลต่างๆ พร้อมทั้งเสนอแนวทางแก้ไข

1

2

1

4

-

2

2.2

12

ม.4-6/2 เสนอแนวทางทางการเมืองการปกครองที่นำไปสู่ความเข้าใจ  และการประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ

2

4

2

8

-

3

2.2

13

ม.4-6/3 วิเคราะห์ความสำคัญและ ความจำเป็นที่ต้องธำรงรักษาไว้ซึ่งการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย  อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

2

4

2

8

-

3

2.2

14

ม.4-6/4 เสนอแนวทางและมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ

2

2

2

6

-

2

2.2

รวมคะแนน

13

24

13

50

20

30

100

หมายเหตุ อาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม

 


รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒธรรม1

กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

เนื้อหารายวิชา แบ่งเป็น  2 ช่วงได้แก่

ช่วงที่ 1 ศึกษาเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและศาสนาอื่นๆที่เกี่ยวข้อง

ช่วงที่ 2 ศึกษาเกี่ยวกับหน้าที่พลเมือง รัฐธรรมนูญและการปฏิบัติตนที่ดีในสังคม